การติดตั้ง
แสนง่าย ตรงไปตรงมา
$ sudo apt-get update
$ sudo apt-get install octave
ตัวอย่างการใช้งาน
Octave สามารถเรียกใช้งานได้สอง mode คือแบบ GUI และแบบ CLI ในตัวอย่างนี้จะใช้แบบ CLI
$ octave --no-gui
ใน interactive mode
>>> x=-2:0.5:2;
>>> y=x.^2;
>>> plot(x,y)
>>> x=linspace(-2,2,50);
>>> y=linspace(-2,2,50);
>>> [xx,yy]=meshgrid(x,y);
>>> mesh(xx,yy,4-(xx.^2+yy.^2))
การติดตั้ง Octave rpi gpio [2]
1. ติดตั้ง dependencies
sudo apt-get install liboctave-dev
2. compile source code
$ git clone https://github.com/octave-de/octave-rpi-gpio.git
$ cd octave-rpi-gpio
$ wget http://www.airspayce.com/mikem/bcm2835/bcm2835-1.56.tar.gz
$ tar zxvf bcm2835-1.56.tar.gz
$ cd bcm2835-1.56
$ ./configure
$ make
$ sudo make check
$ sudo make install
หลังจากเสร็จแล้ว
$ cd ..
$ make
ทดสอบการใช้งานกับ GPIO
ติดตั้ง LED กับ Raspberry Pi 3 Model B/B+ ดังภาพ
แล้วใช้คำสั่ง
$ octave test_bcm2835oct.m
ท่านควรจะเห็นว่า LED มีกระพริบ 1 ครั้ง
ขอให้สังเกตุว่าใน folder octave-rpi-gpio จะมี file ชื่อ bcm2835.oct และ PKG_ADD ทั้งสองนี้จำเป็นสำหรับการใช้งาน gpio module ของ Octave ดังนั้น หากไปเรียกใช้งาน Octave ใน folder อื่นก็ควรจะมี 2 file นี้ติดไปด้วย
เอกสารอ้างอิง
[1] https://www.gnu.org/software/octave/
[2] https://github.com/octave-de/octave-rpi-gpio
Sign up here with your email
ConversionConversion EmoticonEmoticon